วันอาทิตย์, พฤศจิกายน 24, 2024

ทพ.เฉลิมพร พรมมาส

25 โพสต์0 ความคิดเห็น
http://www.c-prommas.com
วุฒิบัตรเฉพาะทางสาขาปริทันตวิทยา ราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย อาจารย์พิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และเป็น Course Director และ วิทยากรในงานทัตกรรม ทั้ง Perio , Ortho และ Dental Impant Surgery

ยาปิดแผลผ่าตัด (Periodontal dressing)

Periodontal dressingคือยา/วัสดุที่ใช้ปิดแผลปริทันต์ โดยทั่วไปเรามักจะคุ้นตากันกับภาพของperiodontistใช้วัสดุกลุ่มนี้ในการปิดแผลให้กับคนไข้ไปภายหลังการทำperiodontal surgery  …Periodontal dressingมันมีประโยชน์อย่างไร?? ทำไมต้องใช้ยาปิดแผลกันด้วย?? … Periodontal dressingเป็นเสมือนband-aid(พลาสเตอร์ยา)ที่ใช้สำหรับปิดแผลผ่าตัดperiodontal surgeryซึ่งว่ากันตามจริงคือวิธีการดังกล่าวถูกเริ่มนำมาใช้ในทางปริทันต์ยาวนานมาก ประมาณ100ปีมาแล้วตั้งแต่สมัยperiodontal packของDr. AW Wardปีค.ศ 1923  ถึงแม้ว่าคุณสมบัติของวัสดุในกลุ่มนี้จะไม่ได้มีผลโดยตรงกับการหายของแผล แต่เนื่องด้วยลักษณะทางกายภาพของมันที่  1. ช่วยstabilizedแผล/flapให้อยู่ในตำแหน่งเดิมไว้จากตอนimmediate post op.  2. ป้องกันการirritateแผลในช่วงearly wound healing ไม่ว่าจะเกิดจากการรับประทานอาหาร, การแปรงฟัน, การบังเอิญมาโดนแผลหรือโดนปมไหมโดยไม่ได้ตั้งใจของคนไข้เองก็ตาม...

Periodontally Accelerated Osteogenic Orthodontics

เป็นที่ทราบกันดีว่า..ในปัจจุบันเป็นยุคสมัยที่เต็มไปด้วยความรีบเร่ง ฉับไว และอาจกล่าวได้ว่า “เวลา” ได้กลายมาเป็นสิ่งที่มีค่าสำคัญอีกอย่างหนึ่งสำหรับมนุษย์เราก็คงไม่ผิด  ความต้องการด้านความรวดเร็วดังกล่าวนี้ไม่เพียงแต่จำกัดอยู่เฉพาะในเรื่องของงาน, ธุรกิจ, การเดินทาง,…เท่านั้น แต่มันยังครอบคลุมมาถึงในส่วนของการรักษาทางการแพทย์ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันที่ทุกวันนี้มีหลากหลายการศึกษา, หลากหลายงานวิจัย ที่เสาะแสวงหาหนทางที่จะช่วยให้การเคลื่อนฟันในเคสนั้นๆดำเนินไปได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น ซึ่งความพยายามนี้ไม่ได้เกิดจากเฉพาะเหตุผลในข้อจำกัดของเวลา แต่หากเป็นเพราะการเคลื่อนฟันในบางตำแหน่งที่เป็นไปได้ยาก พยายามเคลื่อนมานานแล้วและยังไม่สำเร็จ ฟันขยับช้า, มีสันกระดูกบางบ้าง,...

ฟันโยกกับการจัดฟัน

“Tooth mobility & Orthodontic treatment” ฟันโยกภายหลังการจัดฟัน ปกติ?หรือผิดปกติ? แบบไหนที่ปกติ? และแบบใดที่ผิดปกติ? ความเข้าใจเบื้องต้นเมื่อมีแรงจัดฟันกระทำต่อฟัน โดยปกตินั้น เมื่อมีแรงจากการจัดฟันกระทำต่อฟันซี่หนึ่งๆจะเกิดการส่งถ่ายแรงดังกล่าวจาก bracket --> ตัวฟัน --> ผ่านรากฟัน --> PDL --> alveolar bone ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการตอบสนองของboneที่เกิดขึ้นคือการresorptionในฝั่งcompressive side และในทางกลับกันคือการเกิด bone appositionในฝั่งtension side. ทั้งนี้เมื่อสิ้นสุดกระบวนการทั้งหมดจะได้ผลลัพธ์เป็นฟันเคลื่อนที่ไปในตำแหน่งใหม่ตามที่แรงจัดฟันมากระทำ โดยที่ยังมีbone supportรอบๆรากอยู่ในระดับเดียวกันกับก่อนการเคลื่อนฟันจะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามต้องอย่าลืมว่า…ก่อนการเปลี่ยนแปลงในส่วนของboneจะเกิดขึ้นนั้น แรงจากการจัดฟันได้ส่งผ่านรากฟันมายังPDLก่อนไปถึงbone.  ในPDL spaceซึ่งเป็นที่อยู่ของPDLและvessel เมื่อแรงถูกส่งผ่านมายังorganเหล่านี้จะเกิดการหนาตัวขึ้นของPDLซึ่งเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเพื่อตอบสนองต่อแรง รวมไปถึงการเพิ่มขนาดของvessel และระดับcellular activityต่างๆในบริเวณดังกล่าว จนปรากฏลักษณะที่เราคุ้นชินให้เห็นกันในภาพถ่ายรังสีเป็น “การwidening of PDL space” …โดยกระบวนการทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นซ้ำๆตลอดช่วงระยะเวลาที่มีการเคลื่อนของฟัน… ด้วยธรรมชาติที่PDLมีความเป็นelasticityที่มากกว่าboneนี้เอง ทำให้เมื่อPDLหนาตัวขึ้น… PDL spaceกว้างขึ้น… ระยะห่างระหว่างrootกับboneมากขึ้น สิ่งที่สามารเกิดขึ้นตามมาได้คือ “tooth mobility(การโยกของฟัน)” Tooth...

“The Enlargement of Interdental Papilla”

ลักษณะของเหงือกที่จะยกมาพูดถึงในครั้งนี้ จัดเป็นลักษณะของเหงือกที่เรามักพบได้บ่อยในคนไข้ที่เข้ารับการจัดฟัน(โดยเฉพาะเคสที่ใช้เครื่องมือประเภทfixed appliance) แม้ว่าลักษณะเหงือกประเภทนี้จะไม่ได้เป็นรอยโรคที่รุนแรง แต่ก็เชื่อว่าคุณหมอจัดฟันหลายๆท่านอาจจะยังมีข้อสงสัยกันว่าแนวทางการรักษาสภาวะที่เกิดขึ้นนี้ต้องทำอย่างไร, ต้องจบด้วยperio-surgeryทุกเคสหรือไม่ ….วันนี้เราจะมาพูดถึง...

Blade vs Electrosurgery vs (Diode) laser??

ในช่วงที่ผ่านๆมา ผมมักจะได้รับคำถามจากเพื่อนๆพี่ๆน้องๆที่มาฝึกทำ esthetic crown lengthening (esthetic CL) ด้วยกัน มาค่อนข้างบ่อยมากเกี่ยวกับในขั้นตอนการลงinternal bevel incision(ตอนgingivectomy)เพื่อตัดเหงือกว่า “ในขั้นตอนดังกล่าวควรใช้อุปกรณ์อะไรดี...

แจก Gummy Smile Evaluation worksheet by C.Prommas

เอกสารนี้เป็นบางส่วนที่ผมใช้ประกอบการสอนในหลักสูตร จะมีทั้งหมด 9 หน้า ซึ่งถ้าคุณหมอต้องการประเมินคนไข้เพื่อจะวางแผนทำ Gummy Smile เอกสาร Worksheet อันนี้จะช่วยทำให้การวางแผนของเราละเอียดยิ่งขึ้น และลดความผิดพลาดที่เจอบ่อยๆ เช่น การ Diagnosis ที่ผิดพลาด หรือ ประเมิน discrepancy ไม่ขาด เอกสารชุดนี้ผมมอบให้คุณหมอทุกท่านเพื่อนำเอาไปใช้ในการตรวจวินิจฉัย และเอาไปใช้ได้ทุกอย่าง (ยกเว้นกิจกรรมที่แสวงหาผลกำไรหรือนำไปขายต่อ) ดาวน์โหลดเอกสาร chartgummysmileดาวน์โหลด ท่านใดอยากเรียนหลักสูตรนี้ จะมีรอบใหม่ในเดือน มีนาคม 2564...

ความสำคัญของ Perio – Ortho กับประสบการณ์ไปบรรยาย ในคอร์ส OLL

ความสำคัญของ Perio - Ortho กับประสบการณ์ไปบรรยายในคอร์ส OLL (orthodontic life learning) ของ อ.แบงค์ (ทพ.ธนดล) ก่อนที่ผมจะมีหลักสูตรสอน Perio-Sur ผมได้รับเคส Refer มาเยอะมากในปัญหา Perio-Ortho และผมเข้าใจความลำบากของคุณหมอหลายท่านที่แก้ปัญหา Perio ที่มักจะตามมาจากการจัดฟันไม่ได้ มีวันหนึ่ง คุณหมอแบงค์ ธนดล ติดต่อผมมาอยากให้ช่วยมาบรรยายหัวข้อหนึ่งในคอร์ส OLL...

ถ้าเจอฟันที่เป็น Perio แบบ Questionable prognosis ควรหยุดจัดฟันไหม ?

เคสนี้ระหว่างจัดฟันมีปัญหา Periodontitis เกิดขึ้น ซึ่งไม่ว่าจะมาจากปัญหาโรคปริทันต์ที่คนไข้เป็นอยู่ตั้งแต่เริ่มต้นเองก็ตาม หรือการควบคุม infection ระหว่างการจัดฟันที่ไม่ดีก็ตาม ทำให้ภายหลังจากจัดฟันไปแล้วเกิดสภาวะ bone loss อย่างรุนแรงบริเวณซี่26,27 visit แรกที่ได้รับ referมา คนไข้มาด้วยปัญหาการเกิด Fibroma ที่บริเวณดังกล่าว ด้วยสภาวะ bone support ที่เหลืออยู่น้อย ทำให้จำเป็นต้องแจ้ง prognosis แก่คนไข้ไปตามตรงว่า...

ถ้าไม่มี Keratinizied gingiva แล้วต้องฝังสกรูตรงนั้นพอดี …. จะทำยังไงได้บ้าง ?

คุณหมอเคยไหม ? “...ที่ในบางเคสคุณหมอต้องการฝัง Miniscrew เพื่อเพิ่ม anchorage แต่บริเวณนั้นดันไม่มีส่วน attatched/ keratinized gingiva....” ในงานจัดฟัน โดยเฉพาะตำแหน่งขากรรไกรบนนั้น การใช้ miniscrew มีความจำเป็นในหลายสถานการณ์ ยิ่งเคสที่ต้อง correct large overjet หรือเคสที่จัดฟันไปแล้วมีการ replasp และมาขอรับการจัดฟันรอบที่ 2 !! แต่ทั้งนี้ "เหงือก"...

ฝึกทำ Gummy smile correction (Hands on) บนหัวหมู จะเทียบเท่ากับการทำในคนไข้จริงได้หรือ ?

การ “ลองผ่าตัดครั้งแรก” ในคนไข้จริงเป็นเรื่องที่ท้าทาย และคงเครียดมากสำหรับคุณหมอทุกคน ผมคิดว่างานผ่าตัดมีส่วนที่เหมือนกับงานอุดฟันและงานฟันปลอม นั่นคือคุณควรทำในแลปให้เก่ง แล้วค่อยขยับขั้นขึ้นไปทำในคนไข้ ในการผ่าตัด เรานิยมใช้ “ขากรรไกรหมู” ในการฝึกผ่าตัด ถ้าคุณสังเกต Hands on หลายๆแห่งที่จัดก็มักจะใช้หัวหมูทั้งสิ้น รวมถึงหลักสูตรของเราที่ชื่อ “รู้ทัน รู้จริง รู้ป้องกัน และรู้รักษา ในงาน Peril-Ortho (Online and 1...
Advertisingspot_img

Popular posts

My favorites

I'm social

0แฟนคลับชอบ
0ผู้ติดตามติดตาม
0ผู้ติดตามติดตาม