วันอาทิตย์, พฤศจิกายน 24, 2024
หน้าแรกแท็กบทความ

Tag: บทความ

3 top periodontal complications ที่พบบ่อยในระหว่างการจัดฟัน

ธรรมชาติของการเคลื่อนฟันในทางทันตกรรมจัดฟันไม่ว่าจะเป็นแบบติดเครื่องมือ(แบบโลหะ)หรือแบบใสก็ตาม ล้วนอาศัยการส่งผ่านแรงไปยังอวัยวะปริทันต์ (..เหงือก, cementum, PDL และalveolar bone).  เพื่อให้เกิดการremodelของอวัยวะเหล่านั้นที่ได้รับแรง และส่งผลให้ฟันสามารถเคลื่อนที่จากตำแหน่งหนึ่งๆไปยังบริเวณข้างเคียงได้ ซึ่งแท้จริงแล้วการremodelดังกล่าวนี้ เปรียบเสมือนการadaptationของอวัยวะปริทันต์ให้เข้ากับenvironmentใหม่ที่อยู่ล้อมรอบ/หรือที่มากระทำกับรากฟันในตำแหน่งนั้นๆ  การadaptationเหล่านี้เกิดขึ้นในระดับcell (bone cell, PDL cell, fibroblast, …เป็นต้น) โดยการinteractionระหว่างcellเปรียบเสมือนการสื่อสารระหว่างกัน การสื่อสารต่างๆเหล่านั้นพบว่าอาศัยกลุ่มชุดproteinที่จำเพาะ ยกตัวอย่างเช่นกลุ่มproteinที่เราเรียกกันว่าcytokine.  Cytokineชนิดต่างๆที่ถูกปล่อยออกมานั้นมีอิทธิพลให้ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการสื่อสารนี้เป็นไปได้หลากหลาย เช่น การเกิดการ deposition (สร้าง),...

การทําesthetic CLในเคสที่มีfrenumเกาะสูง

“ว่าด้วยเรื่องการทำesthetic CLในเคสที่มีfrenumเกาะสูง” ย้อนกลับไปเบสิคว่า… Frenumที่อาจก่อให้เกิดพยาธิสภาพคือ  -frenumที่เกาะชิดขอบเหงือกเลย หรือใกล้ขอบเหงือกจนkeratinizedเหลือน้อยมาก,  -frenumที่เกาะสูงจนทำให้vestibuleตื้นมากๆ -frenumที่ทำให้ขอบเหงือกขยับเมื่อคนไข้ขยับแก้ม, ขยับริมฝีปาก, หรือเมื่อเราลองtestด้วยการmold muscleดู พบว่าขอบเหงือกขยับตามไปด้วย -frenumที่เมื่อเราลองขยับดูแล้วพบว่าเกิดสีขอบเหงือกหรือIDPที่ซีดลง (เกิดลักษณะischemiaบริเวณขอบเหงือกหรือIDP) -frenumที่สัมพันธ์กับlocalized recession,  -frenumที่ใหญ่มากๆจนดึงรั้งให้ริมฝีปาก/ลิ้นผิดรูปมาแนบรั้งกับfrenumชิ้นนี้, -frenumที่ใหญ่จนขัดขวางการดูแลoral hygieneของคนไข้, -frenumที่ใหญ่และสัมพันธ์กับการเกิดmedial diastema โดยในกรณีการทำesthetic CLในเคสที่มีfrenumเกาะสูงนั้น ส่วนตัวผมแล้วสามารถให้การรักษาโดยวางtreatment planได้หลายทางขึ้นอยู่กับว่าfrenumเคสนั้นๆเกาะสูง(เกาะใกล้ขอบเหงือก)มากน้อยขนาดไหน  กล่าวคือ... กรณีที่1 ถ้าfrenumเกาะสูงใกล้ขอบเหงือกมาก แทบไม่เหลือkeratinizedเลย(<2mm) บางรายเกาะชิดขอบเหงือกเลยก็มี  หากคุณหมอเจอเคสแบบนี้จำเป็นต้องทำfrenectomyก่อนการทำesthetic CL (แบ่งเป็น 2 stage) โดยปกติเคสCLที่ต้องมีการทำfrenectomyผมมักจะเลือกเทคนิคfrenectomyที่จะได้keratinizedเพิ่มหลังทำ...

การทำFiberotomyเพื่อแก้ไขการคืนกลับของฟันที่ผ่านการแก้ไขฟันบิดหมุน

“การทำFiberotomyเพื่อแก้ไขการคืนกลับของฟันที่ผ่านการแก้ไขฟันบิดหมุน” (Circumferential supracrestal fiberotomy in Rotational-Relapsed tooth) บ่อยครั้งในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันที่คุณหมอหลายท่านมักจะมองว่าสิ่งสำคัญที่สุดของการรักษา คือการเคลื่อนฟันให้ไปอยู่ในตำแหน่งที่เราต้องการได้, แก้ไขฟันที่ซ้อนเกได้, การปิดช่องว่างที่มีอยู่หรือจากการถอนฟันได้ก็ดี…แต่แท้จริงแล้วไม่ใช่ว่าการรักษาในช่วงactive txนี้จะสำคัญเพียงอย่างเดียว ยังมีการรักษาอีกช่วงหนึ่งที่สำคัญมากๆ นั่นคือการรักษาในช่วงretention phase ที่…จะทำอย่างไร?ให้ฟันที่เราเคลื่อนไปเหล่านั้นยังคงอยู่ในตำแหน่งนี้ตลอดไป ดังคำกล่าวในบางบทความว่า “การรักษาช่วงretention phase ถือเป็นstepที่ยากที่สุดในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน” (Edward 1970)   ดังที่เราจะพบปัญหาที่เกิดขึ้นในคนไข้หลายเคส ที่หลังถอดเครื่องมือจัดฟันออกไม่นานก็เริ่มมีประสบปัญหาการrelapseเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น re-opening of...

What is biologic width?

Biologic width หมายถึง dimension(ระยะ)ของsoft tissueที่มีการยึดเกาะกับฟันในส่วนที่อยู่เหนือต่อcrestal boneขึ้นมา ธรรมชาติของการยึดเกาะของperiodontiumกับฟันนั้นประกอบด้วยส่วนattachmentเหนือmarginal boneขึ้นมา และattachmentที่ต่ำกว่าmarginal bone ลงไป เมื่อพิจารณาดูanatomyของperiodontium ดังรูปที่1 แล้ว เราจะมองเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้นว่า แท้จริงแล้วส่วนของperiodontal attachmentที่อยู่ต่ำกว่าcrestal boneคือ periodontal ligament(PDL) ในขณะที่ส่วนattachmentที่อยู่เหนือต่อcrestal boneขึ้นมาคือส่วนของattachmentในflapซึ่งประกอบด้วยส่วนjunctional epithelium และconnective tissue attachment ซึ่งมีค่าประมาณของระยะนี้อยู่ที่...

ยาปิดแผลผ่าตัด (Periodontal dressing)

Periodontal dressingคือยา/วัสดุที่ใช้ปิดแผลปริทันต์ โดยทั่วไปเรามักจะคุ้นตากันกับภาพของperiodontistใช้วัสดุกลุ่มนี้ในการปิดแผลให้กับคนไข้ไปภายหลังการทำperiodontal surgery  …Periodontal dressingมันมีประโยชน์อย่างไร?? ทำไมต้องใช้ยาปิดแผลกันด้วย?? … Periodontal dressingเป็นเสมือนband-aid(พลาสเตอร์ยา)ที่ใช้สำหรับปิดแผลผ่าตัดperiodontal surgeryซึ่งว่ากันตามจริงคือวิธีการดังกล่าวถูกเริ่มนำมาใช้ในทางปริทันต์ยาวนานมาก ประมาณ100ปีมาแล้วตั้งแต่สมัยperiodontal packของDr. AW Wardปีค.ศ 1923  ถึงแม้ว่าคุณสมบัติของวัสดุในกลุ่มนี้จะไม่ได้มีผลโดยตรงกับการหายของแผล แต่เนื่องด้วยลักษณะทางกายภาพของมันที่  1. ช่วยstabilizedแผล/flapให้อยู่ในตำแหน่งเดิมไว้จากตอนimmediate post op.  2. ป้องกันการirritateแผลในช่วงearly wound healing ไม่ว่าจะเกิดจากการรับประทานอาหาร, การแปรงฟัน, การบังเอิญมาโดนแผลหรือโดนปมไหมโดยไม่ได้ตั้งใจของคนไข้เองก็ตาม...

Periodontally Accelerated Osteogenic Orthodontics

เป็นที่ทราบกันดีว่า..ในปัจจุบันเป็นยุคสมัยที่เต็มไปด้วยความรีบเร่ง ฉับไว และอาจกล่าวได้ว่า “เวลา” ได้กลายมาเป็นสิ่งที่มีค่าสำคัญอีกอย่างหนึ่งสำหรับมนุษย์เราก็คงไม่ผิด  ความต้องการด้านความรวดเร็วดังกล่าวนี้ไม่เพียงแต่จำกัดอยู่เฉพาะในเรื่องของงาน, ธุรกิจ, การเดินทาง,…เท่านั้น แต่มันยังครอบคลุมมาถึงในส่วนของการรักษาทางการแพทย์ด้วย ยกตัวอย่างเช่น ในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันที่ทุกวันนี้มีหลากหลายการศึกษา, หลากหลายงานวิจัย ที่เสาะแสวงหาหนทางที่จะช่วยให้การเคลื่อนฟันในเคสนั้นๆดำเนินไปได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น ซึ่งความพยายามนี้ไม่ได้เกิดจากเฉพาะเหตุผลในข้อจำกัดของเวลา แต่หากเป็นเพราะการเคลื่อนฟันในบางตำแหน่งที่เป็นไปได้ยาก พยายามเคลื่อนมานานแล้วและยังไม่สำเร็จ ฟันขยับช้า, มีสันกระดูกบางบ้าง,...

ฟันโยกกับการจัดฟัน

“Tooth mobility & Orthodontic treatment” ฟันโยกภายหลังการจัดฟัน ปกติ?หรือผิดปกติ? แบบไหนที่ปกติ? และแบบใดที่ผิดปกติ? ความเข้าใจเบื้องต้นเมื่อมีแรงจัดฟันกระทำต่อฟัน โดยปกตินั้น เมื่อมีแรงจากการจัดฟันกระทำต่อฟันซี่หนึ่งๆจะเกิดการส่งถ่ายแรงดังกล่าวจาก bracket --> ตัวฟัน --> ผ่านรากฟัน --> PDL --> alveolar bone ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการตอบสนองของboneที่เกิดขึ้นคือการresorptionในฝั่งcompressive side และในทางกลับกันคือการเกิด bone appositionในฝั่งtension side. ทั้งนี้เมื่อสิ้นสุดกระบวนการทั้งหมดจะได้ผลลัพธ์เป็นฟันเคลื่อนที่ไปในตำแหน่งใหม่ตามที่แรงจัดฟันมากระทำ โดยที่ยังมีbone supportรอบๆรากอยู่ในระดับเดียวกันกับก่อนการเคลื่อนฟันจะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามต้องอย่าลืมว่า…ก่อนการเปลี่ยนแปลงในส่วนของboneจะเกิดขึ้นนั้น แรงจากการจัดฟันได้ส่งผ่านรากฟันมายังPDLก่อนไปถึงbone.  ในPDL spaceซึ่งเป็นที่อยู่ของPDLและvessel เมื่อแรงถูกส่งผ่านมายังorganเหล่านี้จะเกิดการหนาตัวขึ้นของPDLซึ่งเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเพื่อตอบสนองต่อแรง รวมไปถึงการเพิ่มขนาดของvessel และระดับcellular activityต่างๆในบริเวณดังกล่าว จนปรากฏลักษณะที่เราคุ้นชินให้เห็นกันในภาพถ่ายรังสีเป็น “การwidening of PDL space” …โดยกระบวนการทั้งหมดนี้จะเกิดขึ้นซ้ำๆตลอดช่วงระยะเวลาที่มีการเคลื่อนของฟัน… ด้วยธรรมชาติที่PDLมีความเป็นelasticityที่มากกว่าboneนี้เอง ทำให้เมื่อPDLหนาตัวขึ้น… PDL spaceกว้างขึ้น… ระยะห่างระหว่างrootกับboneมากขึ้น สิ่งที่สามารเกิดขึ้นตามมาได้คือ “tooth mobility(การโยกของฟัน)” Tooth...

“The Enlargement of Interdental Papilla”

ลักษณะของเหงือกที่จะยกมาพูดถึงในครั้งนี้ จัดเป็นลักษณะของเหงือกที่เรามักพบได้บ่อยในคนไข้ที่เข้ารับการจัดฟัน(โดยเฉพาะเคสที่ใช้เครื่องมือประเภทfixed appliance) แม้ว่าลักษณะเหงือกประเภทนี้จะไม่ได้เป็นรอยโรคที่รุนแรง แต่ก็เชื่อว่าคุณหมอจัดฟันหลายๆท่านอาจจะยังมีข้อสงสัยกันว่าแนวทางการรักษาสภาวะที่เกิดขึ้นนี้ต้องทำอย่างไร, ต้องจบด้วยperio-surgeryทุกเคสหรือไม่ ….วันนี้เราจะมาพูดถึง...

Blade vs Electrosurgery vs (Diode) laser??

ในช่วงที่ผ่านๆมา ผมมักจะได้รับคำถามจากเพื่อนๆพี่ๆน้องๆที่มาฝึกทำ esthetic crown lengthening (esthetic CL) ด้วยกัน มาค่อนข้างบ่อยมากเกี่ยวกับในขั้นตอนการลงinternal bevel incision(ตอนgingivectomy)เพื่อตัดเหงือกว่า “ในขั้นตอนดังกล่าวควรใช้อุปกรณ์อะไรดี...
Advertisingspot_img

Popular posts

My favorites

I'm social

0แฟนคลับชอบ
0ผู้ติดตามติดตาม
0ผู้ติดตามติดตาม