วันอาทิตย์, พฤศจิกายน 24, 2024
หน้าแรกแท็กบทความ

Tag: บทความ

แจก Gummy Smile Evaluation worksheet by C.Prommas

เอกสารนี้เป็นบางส่วนที่ผมใช้ประกอบการสอนในหลักสูตร จะมีทั้งหมด 9 หน้า ซึ่งถ้าคุณหมอต้องการประเมินคนไข้เพื่อจะวางแผนทำ Gummy Smile เอกสาร Worksheet อันนี้จะช่วยทำให้การวางแผนของเราละเอียดยิ่งขึ้น และลดความผิดพลาดที่เจอบ่อยๆ เช่น การ Diagnosis ที่ผิดพลาด หรือ ประเมิน discrepancy ไม่ขาด เอกสารชุดนี้ผมมอบให้คุณหมอทุกท่านเพื่อนำเอาไปใช้ในการตรวจวินิจฉัย และเอาไปใช้ได้ทุกอย่าง (ยกเว้นกิจกรรมที่แสวงหาผลกำไรหรือนำไปขายต่อ) ดาวน์โหลดเอกสาร chartgummysmileดาวน์โหลด ท่านใดอยากเรียนหลักสูตรนี้ จะมีรอบใหม่ในเดือน มีนาคม 2564...

ความสำคัญของ Perio – Ortho กับประสบการณ์ไปบรรยาย ในคอร์ส OLL

ความสำคัญของ Perio - Ortho กับประสบการณ์ไปบรรยายในคอร์ส OLL (orthodontic life learning) ของ อ.แบงค์ (ทพ.ธนดล) ก่อนที่ผมจะมีหลักสูตรสอน Perio-Sur ผมได้รับเคส Refer มาเยอะมากในปัญหา Perio-Ortho และผมเข้าใจความลำบากของคุณหมอหลายท่านที่แก้ปัญหา Perio ที่มักจะตามมาจากการจัดฟันไม่ได้ มีวันหนึ่ง คุณหมอแบงค์ ธนดล ติดต่อผมมาอยากให้ช่วยมาบรรยายหัวข้อหนึ่งในคอร์ส OLL...

ถ้าเจอฟันที่เป็น Perio แบบ Questionable prognosis ควรหยุดจัดฟันไหม ?

เคสนี้ระหว่างจัดฟันมีปัญหา Periodontitis เกิดขึ้น ซึ่งไม่ว่าจะมาจากปัญหาโรคปริทันต์ที่คนไข้เป็นอยู่ตั้งแต่เริ่มต้นเองก็ตาม หรือการควบคุม infection ระหว่างการจัดฟันที่ไม่ดีก็ตาม ทำให้ภายหลังจากจัดฟันไปแล้วเกิดสภาวะ bone loss อย่างรุนแรงบริเวณซี่26,27 visit แรกที่ได้รับ referมา คนไข้มาด้วยปัญหาการเกิด Fibroma ที่บริเวณดังกล่าว ด้วยสภาวะ bone support ที่เหลืออยู่น้อย ทำให้จำเป็นต้องแจ้ง prognosis แก่คนไข้ไปตามตรงว่า...

ถ้าไม่มี Keratinizied gingiva แล้วต้องฝังสกรูตรงนั้นพอดี …. จะทำยังไงได้บ้าง ?

คุณหมอเคยไหม ? “...ที่ในบางเคสคุณหมอต้องการฝัง Miniscrew เพื่อเพิ่ม anchorage แต่บริเวณนั้นดันไม่มีส่วน attatched/ keratinized gingiva....” ในงานจัดฟัน โดยเฉพาะตำแหน่งขากรรไกรบนนั้น การใช้ miniscrew มีความจำเป็นในหลายสถานการณ์ ยิ่งเคสที่ต้อง correct large overjet หรือเคสที่จัดฟันไปแล้วมีการ replasp และมาขอรับการจัดฟันรอบที่ 2 !! แต่ทั้งนี้ "เหงือก"...

ฝึกทำ Gummy smile correction (Hands on) บนหัวหมู จะเทียบเท่ากับการทำในคนไข้จริงได้หรือ ?

การ “ลองผ่าตัดครั้งแรก” ในคนไข้จริงเป็นเรื่องที่ท้าทาย และคงเครียดมากสำหรับคุณหมอทุกคน ผมคิดว่างานผ่าตัดมีส่วนที่เหมือนกับงานอุดฟันและงานฟันปลอม นั่นคือคุณควรทำในแลปให้เก่ง แล้วค่อยขยับขั้นขึ้นไปทำในคนไข้ ในการผ่าตัด เรานิยมใช้ “ขากรรไกรหมู” ในการฝึกผ่าตัด ถ้าคุณสังเกต Hands on หลายๆแห่งที่จัดก็มักจะใช้หัวหมูทั้งสิ้น รวมถึงหลักสูตรของเราที่ชื่อ “รู้ทัน รู้จริง รู้ป้องกัน และรู้รักษา ในงาน Peril-Ortho (Online and 1...
Advertisingspot_img

Popular posts

My favorites

I'm social

0แฟนคลับชอบ
0ผู้ติดตามติดตาม
0ผู้ติดตามติดตาม